ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ธันวาคม, 2014

สรุปแนวข้อสอบ พรบ. ตำรวจแห่งชาติ

สรุปแนวข้อสอบ พรบ. ตำรวจแห่งชาติ สรุปแนวข้อสอบ พรบ. ตำรวจแห่งชาติ ตัวอย่าง สรุป พ.ร.บ. ตำรวจ พ.ศ. 2547 ********** เหตุผลในการใช้ พ.ร.บ. นี้    1.   ระเบียบ วินัย ยศ เครื่องแบบ ใช้มานานไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน จึงนำมารวมไว้เป็นกฎหมายฉบับเดียว    2.   แบ่งส่วนราชการ สตช. เป็น สง.ผบ.ตร. และ บช. เพื่อกระจายอำนาจไปยัง บช. มากขึ้น    3.   มี ก.ต.ช. เพื่อกำหนดนโยบาย และ ก.ตร. บริหารงานบุคคล    4.   กำหนดตำแหน่งข้าราชการตำรวจประเภทไม่มียศ    5.   ตำแหน่งพนักงานสอบสวนแยกต่างหากจากตำแหน่งข้าราชการตำรวจที่มีอยู่เดิมเพื่อพัฒนางานสอบสวน    6.   จัดมีกองทุนเพื่อสนับสนุนและพัฒนางานสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา ย่อสรุป    มาตรา 1   พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชารติ พ.ศ. 2547”    มาตรา 2   พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา     เป็นต้นไป          -  ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2547 เล่มที่ 121 ตอนที่ 18 ก          -  ใช้บังคับวันถัดจากวันประกาศฯ คือวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2547    มาตรา 3   ให้ยกเลิก ระเบียบ วินัย ยศ เค

แนวข้อสอบตำรวจ ตำแหน่งทำหน้าที่ประมวลผล

โหลดแนวข้อสอบตำรวจ ตำแหน่งทำหน้าที่ประมวลผล แนวข้อสอบตำรวจ ตำแหน่ง รอง สว. ทำหน้าที่ประมวลผล เนื้อหาของแนวข้อสอบประกอบด้วย วิชาความรู้ความสามารถทั่วไป (Aptitude Test) ๑. ความสามารถทั่วไป ๒. ภาษาไทย วิชาเฉพาะตำแหน่ง ๑.๑ ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์       -  หลักการเขียนโปรแกรม       - โครงสร้างและการจัดการฐานข้อมูล       - ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์       - ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์       - มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ ๑.๒ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)  ๑.๓ พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗และที่แก้ไขเพิ่มเติม, พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔, กฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง, พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖      ตัวอย่าง สรุป พ.ร.บ. ตำรวจ พ.ศ. 2547 ********** เหตุผลในการใช้ พ.ร.บ. นี้    1.   ระเบียบ วินัย ยศ เครื่องแบบ ใช้มานานไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน จึงนำมารวมไว้เป็นกฎหมายฉบับเดียว    2.   แบ่งส่วนราชการ สตช. เป็น สง.ผบ.ตร. และ บช. เพื่อกระจายอำนาจไปยัง บช. มากขึ้น    3.   ม